ปฏิกิริยานิวเคลียร์
ปฏิกิริยานิวเคลียร์ (Nuclear Reaction) คือ กระบวนการที่นิวเคลียสเกิดการเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบซึ่งเกิดจากการยิงด้วยนิวคลีออน หรือกลุ่มนิวคลีออน หรือรังสีแกมมา แล้วทำให้มีนิวคลีออนเพิ่มเข้าไปในนิวเคลียสหรือออกไปจากนิวเคลียสหรือเกิดการเปลี่ยนแปลงจัดตัวใหม่ภายในนิวเคลียส สามารถเขียนสมการของปฏิกิริยาได้ดังนี้
![](https://i0.wp.com/www.thaigoodview.com/files/u19646/image205.gif)
![](https://i0.wp.com/www.thaigoodview.com/files/u19646/image079.gif)
![](https://i0.wp.com/www.thaigoodview.com/files/u19646/image207.gif)
![](https://i2.wp.com/www.thaigoodview.com/files/u19646/image209.gif)
โดยที่ X เป็นนิวเคลียสที่เป็นเป้า , a คืออนุภาคที่วิ่งเข้าชนเป้า , b คืออนุภาคที่เกิดขึ้นใหม่หลังจากการชน และ Y คือนิวเคลียสของธาตุใหม่หลังจากการชน
เช่น
แสดงถึงว่า
เป็นนิวเคลียสเป้าหมายที่ถูกยิง
เป็นนิวเคลียสของธาตุใหม่ที่เกิดขึ้น n คือนิวตรอนเป็นอนุภาคที่ใช้ในการยิง และ เป็นรังสีที่เกิดขึ้นใหม่ เป็นต้น
![](https://i0.wp.com/www.thaigoodview.com/files/u19646/image215.gif)
![](https://i0.wp.com/www.thaigoodview.com/files/u19646/image035.gif)
![](https://i2.wp.com/www.thaigoodview.com/files/u19646/image037.gif)
ปฏิกิริยานิวเคลียร์ ส่วนมากเกิดจากการยิงอนุภาคแอลฟา โปรตอนและนิวตรอนเข้าไปในชน Nucleus ทำให้ Nucleus แตกออก ปฏิกิริยานิวเคลียร์ มีส่วนสำคัญคือ
1. ปฏิกิริยา Nuclear เกิดในนิวเคลียส ต่างจากปฏิกิริยาเคมี ซึ่งเกิดกับอิเลกตรอนภายในอะตอม
2. ปฏิกิริยา Nuclear ต้องใช้พลังงานเป็นจำนวนมากเพื่อจะทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงนิวเคลียส
3. แรงจากปฏิกิริยา Nuclear เป็นแรงแบบใหม่ เรียก แรงนิวเคลียร์ ซึ่งมีอันตรกริยาสูง และอาณาเขตกระทำสั้นมากและแรงนี้เกิดระหว่างองค์ประกอบของนิวเคลียสเท่านั้น
4. ในปฏิกิริยานิวเคลียส เราสามารถนำกฎต่างๆ มาใช้ได้เป็นอย่างดี คือ กฎการคงที่ของพลังงาน กฎทรงมวล และการคงที่ของประจุไฟฟ้า
1. ปฏิกิริยา Nuclear เกิดในนิวเคลียส ต่างจากปฏิกิริยาเคมี ซึ่งเกิดกับอิเลกตรอนภายในอะตอม
2. ปฏิกิริยา Nuclear ต้องใช้พลังงานเป็นจำนวนมากเพื่อจะทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงนิวเคลียส
3. แรงจากปฏิกิริยา Nuclear เป็นแรงแบบใหม่ เรียก แรงนิวเคลียร์ ซึ่งมีอันตรกริยาสูง และอาณาเขตกระทำสั้นมากและแรงนี้เกิดระหว่างองค์ประกอบของนิวเคลียสเท่านั้น
4. ในปฏิกิริยานิวเคลียส เราสามารถนำกฎต่างๆ มาใช้ได้เป็นอย่างดี คือ กฎการคงที่ของพลังงาน กฎทรงมวล และการคงที่ของประจุไฟฟ้า
ข้อควรจำ
1. ในสมการของปฏิกิริยานิวเคลียร์ทั้งหลายที่เกิดขึ้น ผลรวมของเลขอะตอมก่อนเกิดปฏิกิริยาและภายหลังปฏิกิริยาย่อมเท่ากัน และผลรวมของมวลอะตอมก่อนเกิดปฏิกิริยาและภายหลังปฏิกิริยาย่อมเท่ากัน เช่น ปฏิกิริยา ![](https://i1.wp.com/www.thaigoodview.com/files/u19646/image221.gif)
![](https://i1.wp.com/www.thaigoodview.com/files/u19646/image221.gif)
เขียนได้เป็น
![](https://lh3.googleusercontent.com/blogger_img_proxy/AEn0k_v03cpxwFgpkf54_KqhLgdh5V1nS-ocZHJfrwgL-ddI3Q1m7uX9O5OCc0XmU8HUtjPPacMtN3gNhRHNmlRRJx0=s0-d)
![](https://i1.wp.com/www.thaigoodview.com/files/u19646/image227.gif)
![](https://i1.wp.com/www.thaigoodview.com/files/u19646/image223.gif)
![](https://i0.wp.com/www.thaigoodview.com/files/u19646/image079.gif)
![](https://i1.wp.com/www.thaigoodview.com/files/u19646/image227.gif)
เลขอะตอมคือ 7 + 2 = 8 + 1
มวลอะตอมคือ 14 + 4 = 17 + 1
2. ในปฏิกิริยานิวเคลียร์นั้นพลังงาน หรือ มวล-พลังงาน (mass – energy) ก่อนปฏิกิริยาและหลังปฏิกิริยาจะต้องเท่ากันเสมอ ซึ่งเป็นไปตามกฎทรงพลังงาน ดังเช่น ในการยิงอนุภาคโปรตอนไปยังนิวเคลียสของลิเทียมแล้วทำให้เกิดนิวเคลียสของฮีเลียม 2 นิวเคลียส ดังสมการ
![](https://i0.wp.com/www.thaigoodview.com/files/u19646/image229.gif)
![](https://i0.wp.com/www.thaigoodview.com/files/u19646/image079.gif)
![](https://i0.wp.com/www.thaigoodview.com/files/u19646/image231.gif)
โดยที่
มีมวล 7.0160 u
มีมวล 4.0026 u
![](https://i2.wp.com/www.thaigoodview.com/files/u19646/image233.gif)
![](https://i1.wp.com/www.thaigoodview.com/files/u19646/image235.gif)
![](https://i2.wp.com/www.thaigoodview.com/files/u19646/image237.gif)
มวลก่อนเกิดปฏิกิริยา
= 7.0160 u + 1.0078 u = 8.0238 u
![](https://i0.wp.com/www.thaigoodview.com/files/u19646/image229.gif)
มวลหลังเกิดปฏิกิริยา
= 4.0026 u + 4.0026 u = 8.0052 u
![](https://i0.wp.com/www.thaigoodview.com/files/u19646/image231.gif)
มวลรวมก่อนเกิดปฏิกิริยามากกว่ามวลรวมหลังปฏิกิริยา = 8.0238 u – 8.0052 u = 0.0186 u
แต่มวลสามารถเปลี่ยนเป็นพลังงานได้โดย E = 0.0186 u × 931 MeV = 17.32 MeV
โดยพลังงานที่ให้ออกมาอยู่ในรูปคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่ออกมาจากปฏิกิริยานิวเคลียร์ จึงเรียก ว่าพลังงานนิวเคลียร์ ดังนั้นเขียนสมการข้างต้นใหม่ได้ว่า
![](https://i0.wp.com/www.thaigoodview.com/files/u19646/image229.gif)
![](https://i0.wp.com/www.thaigoodview.com/files/u19646/image079.gif)
![](https://i0.wp.com/www.thaigoodview.com/files/u19646/image242.gif)
ปฏิกิริยานิวเคลียร์บางปฏิกิริยาต้องดูดพลังงานเข้าไปจึงจะเกิดปฏิกิริยาขึ้นได้ เช่น ปฏิกิริยา
เขียนเป็นสมการได้
![](https://i1.wp.com/www.thaigoodview.com/files/u19646/image221.gif)
![](https://i1.wp.com/www.thaigoodview.com/files/u19646/image223.gif)
![](https://i0.wp.com/www.thaigoodview.com/files/u19646/image079.gif)
![](https://i1.wp.com/www.thaigoodview.com/files/u19646/image227.gif)
โดยที่
มีมวล = 14.003074 u
มีมวล = 4.002603 u
![](https://i1.wp.com/www.thaigoodview.com/files/u19646/image096.gif)
![](https://i1.wp.com/www.thaigoodview.com/files/u19646/image235.gif)
![](https://i2.wp.com/www.thaigoodview.com/files/u19646/image251.gif)
![](https://i2.wp.com/www.thaigoodview.com/files/u19646/image025.gif)
มวลก่อนเกิดปฏิกิริยา
= 14.003074 u + 4.002603 u = 18.005677 u
![](https://i1.wp.com/www.thaigoodview.com/files/u19646/image223.gif)
มวลหลังเกิดปฏิกิริยา
= 18.005677 u + 1.007825 u = 18.006958 u
![](https://i1.wp.com/www.thaigoodview.com/files/u19646/image227.gif)
ผลต่างของพลังงานก่อนเกิดปฏิกิริยากับหลังเกิดปฏิกิริยามีค่าดังนี้
E = (18.005677 u – 18.006958 u) × 931MeV = -1.193 MeV
ดังนั้น เพื่อทำให้เกิดปฏิกิริยานิวเคลียร์นี้ขึ้นจะต้องให้พลังงานแก่
โดยเขียนเป็นสมการได้
![](https://i1.wp.com/www.thaigoodview.com/files/u19646/image223.gif)
![](https://i0.wp.com/www.thaigoodview.com/files/u19646/image254.gif)
![](https://i0.wp.com/www.thaigoodview.com/files/u19646/image079.gif)
![](https://i1.wp.com/www.thaigoodview.com/files/u19646/image227.gif)
สรุปปฏิกิริยานิวเคลียร์
1. การหานิวเคลียสของธาตุจากปฏิกิริยา ใช้หลักดังนี้
![Wink Wink](https://i2.wp.com/www.thaigoodview.com/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-wink.gif)
![Sealed Sealed](https://i2.wp.com/www.thaigoodview.com/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-sealed.gif)
2. การคำนวณพลังงานจากปฏิกิริยานิวเคลียร์ มีหลักดังนี้
![Embarassed Embarassed](https://i1.wp.com/www.thaigoodview.com/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-embarassed.gif)
ถ้ามวลรวมก่อนเกิดปฏิกิริยา < มวลรวมหลังเกิดปฏิกิริยา ; ปฏิกิริยานี้จะดูดพลังงาน
![Laughing Laughing](https://i2.wp.com/www.thaigoodview.com/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-laughing.gif)
![Embarassed Embarassed](https://i1.wp.com/www.thaigoodview.com/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-embarassed.gif)
นิวเคลียสก็ต้องเป็นนิวเคลียสหมด หรือมวลอะตอมก็ต้องเป็นมวลอะตอมหมดจะปนกันไม่ได้
0 ความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น